การดูแลรักษาเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองตามมาตรฐาน NFPA110 (MAINTAINING A BACKUP GENERATOR ACCORDING)

การดูแลรักษาเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองตามมาตรฐาน NFPA110 (STANDARD FOR EMERGENCY AND POWER SYSTEMS)

เครื่องยนต์กำเนิดไฟฟ้าจะมีสภาพสมบูรณ์พร้อมใช้งานได้ทันทีหรือไม่ ขึ้นอยู่กับการวางแผนให้มีการการซ่อมบำรุงรักษาและทดสอบการใช้งานเครื่องยนต์กำเนิดไฟฟ้าอย่างถูกต้องตามมาตรฐานและคำแนะนำของบริษัทผู้ผลิตอย่างสม่ำเสมอ

คู่มือการใช้งาน (Instruction manual), เครื่องมือพิเศษหรือเฉพาะ การซ่อมบำรุงรักษาและความถี่ในการซ่อมบำรุง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ

(Special Tools) สำหรับการซ่อมบำรุงรักษา, อุปกรณ์การทดสอบ (Testing devices) และอะไหล่ประจำเครื่องยนต์กำเนิดไฟฟ้าและอะไหล่สิ้นเปลือง จะต้องเก็บรักษาไว้เป็นอย่างดี ภายในห้องเครื่องยนต์กำเนิดไฟฟ้า โดยเก็บไว้ในกล่องหรือผู้โลหะอย่างดีในตำแหน่งที่สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก

แนวทางวิธีการซ่อมบำรุงรักษาและความถี่ในการซ่อมบำรุงรักษาจะต้องปฏิบัติ ตามคำแนะนำของบริษัทผู้ผลิต (ซ่อมบำรุงรักษาคร่าวๆ กรณีไม่มีคู่มือหรือคำแนะนำจากบริษัทผู้ผลิต)

1. ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง (Fuel System)

– ระดับน้ำมันในถังน้ำมันสำรอง (Fuel storage tank) *ตรวจเช็คทุกเดือน

– ะดับน้ำมันในถังน้ำมันประจำเครื่อง *ตรวจเช็ครวมถึงตรวจเช็คด้วยสายตาทุกเดือน

– ลูกลอยของดังน้ำมันประจำเครื่อง *ตรวจเช็คด้วยสายตาพร้อมทดสอบเครื่องทุก 3 เดือน

– การทำงานของระบบส่ง หรือเครื่องสูบน้ำมันเชื้อเพลิง *ตรวจเช็คด้วยสายตาพร้อมทดสอบเครื่องทุก 3 เดือน

– การทำงานของโซขึ้นอยวาล์ว *ตรวจเช็คด้วยสายตาพร้อมทดสอบเครื่องทุก 3 เดือน

– ไส้กรองหยาบ {Strainer)  ไส้กรอง&ะเอียด (Filter) *ทำความสะอาดทุก 3 เดือน

– น้ำในระบบน้ำมัน *ตรวจเช็คและทำความสะอาดเครื่องทุก 3 เดือน

– ท่ออ่อนและข้อต่อ (Flexible hose and connectors) ต่างๆ *ตรวจเช็คด้วยสายตาพร้อมทั้งเปลี่ยนถ้าจำเป็นทุกเดือน

– การอุดตันของท่อหายใจและท่อน้ำมันล้น (Overllow piping) *ตรวจเช็คและทดสอบทุกปี

– ระบบท่อทางน้ำมันและวาล์ว *ตรวจเช็คด้วยสายตาทุกปี

2. ระบบน้ำมันหล่อลื่น (Lubrication system)

– ระดับน้ำมันหล่อลื่น *ตรวจเช็ครวมถึงตรวจเช็คด้วยสายตาทุกสัปดาห์

– น้ำมันหล่อลื่น *เปลี่ยนถ้าจำเป็นทุก 50 ชั่วโมงหรือทุกปี

– ไส้กรองน้ำมันหล่อลื่น *เปลี่ยนถ้าจำเป็นทุก 50 ชั่วโมงหรือทุกปี

– ท่อหายใจ (Crankcase breather) *ตรวจเช็ค ทำความสะอาด หรือเปลี่ยนถ้าจำเป็นทุก 6 เดือน

3. ระบบระบายความร้อน (Cooling System)

– ระดับของเหลวระบายความร้อน *ตรวจเช็ครวมถึงตรวจเช็คด้วยสายตาทุกสัปดาห์

– ระดับของเหลวใน Heat exchanger *ตรวจเช็คทุกสัปดาห์

– ปริมาณอากาศไหลผ่านรังผึ้ง ระบายความร้อน (Radiator) พอเพียงหรือไม่ *ตรวจเช็คทุกเดือน

– ทำความสะอาดภายนอกของรังผึ้ง ระบายความร้อน *ทำความสะอาดทุกปี

– สายพานพัดลมระบายความร้อน และสายพานไดชาร์ *ตรวจเช็ครวมถึงตรวจเช็คด้วยสายตาทุก 3 เดือน

– เครื่องสูบน้ำ (Water pump) *ตรวจเช็คด้วยสายตาทุก 3 เดือน

– สภาพของท่อนบน ล่าง พร้อมข้อต่อต่างๆ (Condition of flexible hoscs and connection)  *ตรวจเช็ครวมถึงตรวจเช็คด้วยสายตาทุกเดือน

– ท่อลม, บานเกร็ต และกราวิตี้ขัทเตอร์  *ตรวจเช็ครวมถึงตรวจเช็คด้วยสายตา และทำความสะอาดทุกปี

4. ระบบท่อไอเสีย (Exhaust system)

– การรั่วไหลของก๊าซไอเสีย *ตรวจเช็ครวมถึงตรวจเช็คด้วยสายตาทุกเดือน

– ระบายน้ำภายในระบบท่อไอเสีย ( Drain condensate trap) *ตรวจเช็คทุกเดือน

– ฉนวนหุ้มท่อไอเสีย และ Aluminum *ตรวจเช็คด้วยสายตาและทดสอบทุก 3 เดือน

– Excessive backpressure *ทำความสะอาดทุกปี

– ระบบยึดระบบท่อไอเสีย (Exhaust system hangers and supports)  *ตรวจเช็คด้วยสายตาทุกปี

– ท่ออ่อนท่อไอเสีย (Flexible exhaust pipe)  *ตรวจเช็คด้วยสายตาทุก 6 เดือน

5. ระบบแบตเตอรี่ (Battery System)

– ระดับ Electrolyte  *ตรวจเช็คทุกเดือน

– ทำความสะอาดขั้วแบตเตอรี่ และ ขันให้แน่น *ตรวจเช็ครวมถึงตรวจเช็คด้วยสายตาทุก 3 เดือน

– วัดความถ่วงจำเพาะของ Electrolyte ของแบตเตอรี่ *ทดสอบทุกเดือน

– การประจุแบตเตอรี่ และอัตราการประจุแบตเตอรี่ *ตรวจเช็คด้วยสายตาทุกเดือน

– ชุด charger แบตเตอรี่ *ตรวจเช็คทุกเดือน

6. ระบบไฟฟ้า (Electrical system)

– สภาพทั่วไป *ตรวจเช็คด้วยสายตาทุกเดือน

– ขันขั้วต่อสายคอนโทรล (Control Connections และ สายไฟฟ้า Power wiring connection)  *ตรวจเช็คทุกปี

– รอยถลอกหรือถูกครูดของสายไฟฟ้า *ตรวจเช็ครวมถึงตรวจเช็คด้วยสายตาทุก 6 เดือน

– อุปกรณ์ป้องกันและส่งสัญญาณเตือน *ตรวจเช็คและทดสอบทุก 6 เดือน

– ตู้ควบคุมไฟฟ้าต่างๆ *ทำความสะอาดทุก 6 เดือน

– เซอร์กิตเบรกเกอร์และฟิวส์ *ตรวจเช็ครวมถึงตรวจเช็คด้วยสายตา ทดสอบ ทำความสะอาด และ เปลี่ยนถ้าจำเป็นทุกปี

– Main contacts ของชุด ออโตเมติกทรานสเฟอร์สวิทซ์ *ตรวจเช็คด้วยสายตา ทำความสะอาดทุกปี

– คาลิเบท ค่า voltage sensing ของอุปกรณ์เลย์ต่างๆ *ตรวจเช็คและทดสอบทุกปี

– การฉีกขาดของฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า *ทดสอบ 3 ปี หรือ ทุก 500 ชั่วโมง

7. เครื่องต้นกำลัง (Prime mover) ขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

– สภาพทั่วไป *ตรวจเช็คด้วยสายตาทุกเดือน

– ไส้กรองอากาศ *ทำความสะอาด และเปลี่ยนถ้าจำเป็นทุก 6 เดือน

– Governor และอุปกรณ์ประกอบ *ตรวจเช็ครวมถึงตรวจเช็คด้วยสายตาทุกเดือน

– ปั้มน้ำมันเชื้อเพลิงและหัวฉีด  *ทดสอบทุกปี

– ทดสอบจ่ายโหลดอย่างน้อย 30% ของ Nameplate KW เป็นเวลา 30 นาที   *ทดสอบทุกสัปดาห์หรือทุกเดือน

– ทดสอบจ่ายโหลด *ทดสอบทุกปี

อย่างน้อย 30% ของ Nameplate KW เป็นเวลา 30 นาที

อย่างน้อย 50% ของ Nameplate KW เป็นเวลา 30 นาที

อย่างน้อย 100% ของ Nameplate KW เป็นเวลา 60 นาที

– ทดสอบจ่ายโหลด *ทดสอบทุก 3 ปีหรือ 36 เดือน

อย่างน้อย 30% ของ Nameplate KW เป็นเวลา 30 นาที

อย่างน้อย 50% ของ Nameplate KW เป็นเวลา 30 นาที

อย่างน้อย 100% ของ Nameplate KW เป็นเวลา 120 นาที

– ตั้งวาล์ว (Value clearants) ใหม่ ทุก 500 ชั่วโมง หรือ 3 ปี

– ชนฝาสูบ (Torque bolls) ใหม่ ทุก 500 ชั่วโมง หรือ 3 ปี

8. เครื่องกำเนิดไฟฟ้า (Generator)

– โรเตอร์และสเตเตอร์ *ตรวจเช็คด้วยสายตา ทำความสะอาดทุกปี

– แบริ่ง (Bearings) *ตรวจเช็คด้วยสายตา และ เปลี่ยนถ้าจำเป็นทุกปี

– Exciter *ตรวจเช็ครวมถึงตรวจเช็คด้วยสายตา ทำความสะอาดทุกปี

–  โวลเเรกกูเรเตอร์ *ตรวจเช็ครวมถึงตรวจเช็คด้วยสายตา ทำความสะอาดทุกปี

– ทดสอบความต้านทานของฉนวน *ทดสอบทุกปี

– สภาพทั่วไป *ตรวจเช็คด้วยสายตา ทุกเดือน

– ห้องเครื่อง *ตรวจเช็คด้วยสายตา ทำความสะอาดทุกเดือน

– ตั้งระบบอัตโนมัติ *ตรวจเช็คด้วยสายตา ทุกสัปดาห์

Facebook
Email
Print